เสาร์, เมษายน 20, 2024
   
Text Size

งานทะเบียนครอบครัว

งานทะเบียนครอบครัว

งาน
หลักเกณฑ์/์ขั้นตอน
เอกสารประกอบที่ใช้
ค่าธรรมเนียม
กำหนดเวลาแล้วเสร็จ
หมายเหตุุ
- จดทะเบียนสมรส
ในสำนักงานทะเบียน
นอกสำนักงานทะเบียน
- ตรวจเอกสารที่เกี่ยวข้อง
- ยื่นแบบ ทร. 1
- ตรวจคุณสมบัติตามกฎหมาย
ป.พ.พ. ปฏิบัติตามระเบียบ
ครอบครัว,พ.ร.บ.จดทะเบียน
ครอบครัว

- บันทึก ทร. 2,บันทึกทร.3
- บัตรประชาชน
- ทะเบียนบ้าน
ฉบับเจ้าบ้าน
- ผู้เคยจดทะเบียนหย่าต้องนำทร.7 มาแสดงและคืนต่อเจ้าหน้าที่
ไม่เสีย
15 นาที
-อายุระหว่าง17 - 20 ปีบิดามารดา
ต้องมาให้ความยินยอม
- ฝ่ายหญิงเมื่อจดทะเบียน
สมรสต้องแก้ไขคำนำหน้าชื่อ
จาก น.ส เป็นนาง
ภายใน 60 วัน
- การจดทะเบียนหย่า
ยินยอมหย่า
คำพิพากษาหย่า
- ยื่นแบบ ทร.10
- คู่หย่าต้องนำ คร.3 มาคืน
- คู่หย่าทำหนังสือหย่าต่อหน้านายทะเบียน
- ตกลงเรื่องทรัพย์สินและการปกครองบุตร
- ตกลงกันไม่ได้ให้ไปฟ้องสารสั่ง
- บัตรของคู่หย่า
- หนังสือย่าหรือข้อตกลงการย่า
ไม่เสีย
15 นาที
- คู่หย่าต้องกลับไปใช้ชื่อสกุล
เดิมภายใน 60 วัน
- จดทะเบียนรับรองบุตร
- กรณีบุตรบรรลุนิติภาวะ(อายุ20 ปีบริบูรณ์) มารดาต้องมาลงชื่อให้คำยินยอม(หากมารดาเสียชีวิตหรือบุตรเป็นผู้เยาวชนยังไม่บรรลุนิติภาวะให้ยื่นคำร้องต่อศาลแผนกคดีเยาวชนและครอบครัว เมื่อศาลมีคำสั่งให้นำคำสั่งศาลไปยื่นต่อที่ว่าการอำเภอเพื่อจดทะเบียนรับรองบุตร )
- สำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน
- บัตรประจำตัวบิดามารดา
- บัตรประจำตัวประชาชนผู้แจ้ง
ไม่เสีย
15 นาที
-
- การจดทะเบียนรับรองบุตรบุณธรรม
- กรณีบุตรบรรลุนิติภาวะ (อายุ 20 ปีบริบูรณ์)ผู้ขอรับเด็กเป็นบุตรบุณธรรมต้องมีอายุไม่ต่ำกว่าสามสิบปี และแก่กว่าเด็กอย่างน้อย15 ปี(กรณีบุตรบุญธรรมเป็นผู้เยาว ต้องได้รับการอนุมัติจากคณะกรรมการเด็กเป็นบุตรบุญธรรม
ยื่นเรื่อง ณ สำนักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ )
- สำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน
- บัตรประจำตัวประชาชนผู้แจ้ง
- บัตประชาชนผู้รับบุตรบุญธรรม
-บัตรประชาชนคู่สมรสของ
ผู้รับบุตรบุญธรรม
(ถ้ามี)

 

ไม่เสีย
30 นาที
- บิดามารดาและบุตรต้องลง
ลายมือชื่อในสมุดทะเบียน
รับรองบุตร
- การจดทะเบียนการรับบุตรบุญธรรม
- กรณีบุตรบรรลุนิติภาวะ (อายุ 20 ปีบริบูรณ์)ผู้รับบุตรบุญธรรมและบุตรบุญธรรมทำความตกลงกัน ณ สำนักทะเบียนอำเภอ(หรือคำพิพากษาถึงที่สุดให้เลิกรับบุตรบุญธรรม)
- สำเนาทะเบียนบ้านฉบับเจ้าบ้าน
- บัตรประจำตัวประชาชนผู้แจ้ง
- บัตรประจำตัวประชาชนผู้รับบุตรบุญธรรม
ไม่เสีย
30 นาที
-ผู้จะรับบุตรบุญธรรมต้องอายุ
ไม่ตำ่กว่า 30 ปี และต้องมีอายุห่าง
จากบุตรบุญธรรมไม่น้อยกว่า 15 ปี
- ผู้ที่จะเป็นบุตรบุญธรรมถ้ายัง
ไม่บรรลุนิติภาวะต้องมีหนังสือ
อนุญาตจากจังหวัดก่อน
(ยื่นเรื่องที่สำนักงานพัฒนา
สังคมและความมั่นคงของมนุษย์ )
- การจดทะเบียนเลิกรับบุตรบุญธรรม
- ตรวจสอบเอกสารที่เกี่ยวข้อง
- ยื่นแบบทร.1
- กรณีตกลงยินยอมเลิ
กฯ
- บุตรเป็นผู้เยาว์ ต้องได้รับความยินยอมจากบิดา มารดาหรือคำพิพากษาหลังคำสั่ง ศาล บันทึกทร.17,สำเนา ทร.18
- บัตรประจำตัวประชาชน
สำเนาทะเบียนบ้านการรับ
บุตรบัญธรรม (ทร.14)
-
-
- ต้องได้รับความยินยอมทั้งสองฝ่าย
- จดทะเบียนบันทึก
ฐานะของภริยา
- ตรวจสอบเอกสารที่เกี่ยวข้อง
ยื่นแบบ ทร. 1
- คู่สมรสต้องมีคุณสมบัติตามที่
กฎหมายกำหนด
- จดทะเบียนตามแบบ ทร.20
และนำมา ทร.21
- บัตรประจำตัวประชาชน
- หลัก
ฐานที่แสดงว่าสมรสก่อนใช้
ป.พ.พ.บรรพ 5

-

-

- ต้องแต่งงานกันก่อน พ.ศ. 2478
- ภรรยาหลวงบันทึกได้คนเดียว
ภรรยาน้อยบันทึกได้หลายคน
-จดทะเบียนบันทึก
ฐานะแห่งครอบครัว
-ยื่นแบบ ทร.1
-ตรวจสอบคุณสมบัติให้ถูกต้องตาม
ระเบียบกฎหมาย
-บัตรประชาชน
-หนังสือสำคัญแสดงการจดทะเบียนครอบครัวเป็นทะเบียนสมรส ซึ่งได้จดตามกฎหมายต่างประเทศ
และได้แปลเป็นภาษาไทยที่กระทรวงต่างประเทศรับรองการแปลแล้ว
-
-
- เป้นการบันทึกฐานะแห่งครอบครัว
ที่ได้ทำขึ้นในต่างประเทศตามแบบ
กฎหมายที่ประเทศนั้นบัญญัติไว้
- ผู้
ร้อขอต้องเป็นบุคคลสัญชาติไทย
ด้วยกันหรือฝ่ายใดฝ่ายหนึ่งเป็น
คนสัญชาติไทย
สถานที่ติดต่อ
ที่ทำการปกครองจังหวัดระยอง ชั้น 4 ศูนย์ราชการจังหวัดระยอง ศาลากลางจังหวัดระยอง ถ.สุขุมวิท อ.เมือง จ.ระยอง 21150
โทร 038-694015, 038-640700 ต่อ 33734, 34130
ที่ว่าการอำเภอทุกอำเภอ

 

 

***********

สำนักงานจังหวัดระยอง ชั้น 4 ศาลากลางจังหวัดระยอง
ศูนย์ราชการจังหวัดระยอง ถนนสุขุมวิท ตำบลเนินพระ อำเภอเมือง จังหวัดระยอง 21150
โทรศัพท์ : 0-3869-4000, 0-3869-4010 แฟกซ์ : 0-3869-4160
E-mail : rayong@moi.go.th