พฤหัสบดี, เมษายน 25, 2024
   
Text Size

งานตำรวจ

งานด้านตำรวจ
งาน
หลักเกณฑ์/ขั้นตอน
เอกสารประกอบที่ใช้
ค่าธรรมเนียม
กำหนดเวลา
แล้วเสร็จ
หมายเหตุุ
1.งานปราบปราม
1.1การแจ้งเหตุทางโทรศัพท์ให้เจ้าหน้าที่ตำรวจไประงับเหตุหรือบริการอื่นๆ
1.โทรศัพท์ไปสถานีตำรวจ
2.พนักงานโทรศัพท์แจ้งพนักงานวิทยุ
3.พนักงานวิทยุแจ้งสายตรวจไปที่เกิดเหตุหรือสถานที่ต้องการความช่วยเหลือ
-
15 - 30 นาที
1.2 การเยี่ยมผู้ต้องหา
1.พบเจ้าหน้าที่ควบคุมผู้ต้องหา
2.แจ้งชื่อผู้ต้องหาที่ต้องการเยี่ยม
3.เข้าเยี่ยมผู้ต้องหา
-
10 นาที
-ช่วงเวลาเยี่ยมเป็นไป
ตามกฏระเบียบ  
กำหนดคือ ในเวลา
1.08.00-09.00 น.  
 2.16.00-17.00 น.
1.3.การขอกำลังเพื่อรักษาความปลอดภัย
1.พบเจ้าหน้าที่เพื่อติดต่อยื่นหนังสือ
2.รับเรื่องไว้เพื่อพิจารณา
3.รับเรื่องไว้เสนอหน่วยเหนือพิจารณาสั่งการแล้วแจ้งผลให้ทราบ
-
-
2-7 วัน
-
2.งานสืบสวนสอบสวน
1.ผู้ยื่นคำขอ
2.พบพนักงานสอบสวนเพื่อสอบถามรายละเอียดข้อเท็จจริงและตรวจสอบหลักฐานเอกสารที่เกี่ยวข้อง
3.เจ้าหน้าที่เสมียนประจำวันลงบันทึกประจำวัน
-

 

-
1 ชั่วโมง
ภายใต้เงื่อนไข
- ไม่รวมกระบวนการสอบสวนซึ่งแล้วแต่ความซับซ้อนของประเภทคดี
- ขั้นตอนระยะเวลาดัง
กล่าวนี้เฉพาะไม่ต้องไปตรวจสอบที่เกิดเหตุ และเป็นคดีที่พนักงานสอบสวนสามารถให้บริการได้ทันที เช่น ความผิดเกี่ยวกับ
พ.ร.บ.เช็ค เป็นต้น
- การรอสำเนาบันทึกประจำวันเกี่ยวกับคดี
1.ผู้ยื่นคำขอ
2.พบเจ้าหน้าที่เสมียนประจำวันเอกสารหาย
3.พนักงานสอบสวนลงนามในบันทึกประจำวันในข้อที่รับแจ้งประจำวัน
4.เจ้าหน้าที่เสมียนประจำวัน มอบสำเนาประจำวันแก่ผู้แจ้ง
- บัตรประจำตัวประชาชน
-
30 นาที
-
- การจดทะเบียนเลิกรับบุตรบุญธรรม
1.ผู้ยื่นคำขอ
2.พบพนักงานสอบสวนเวรเจ้าของคดีหรือร้อยเวร ตรวจสอบเอกสารที่
เกี่ยวข้อง  อธิบายขั้นตอนการดำเนินคดี
3.บันทึกปากคำและลงรายมือชื่อในสมุดบัญชียึดและรักษาทรัพย์(กรณีของกลาง) ลงบัญชีประจำวันการถอนคำร้องทุกข์คดีความรับผิดชอบอันยอมความได้
- บัตรประจำตัวประชาชนของผู้ยื่น
-
1 ชั่วโมง
ภายในเงื่อนไข
-ไม่มีเหตุจำเป็นเร่งด่วนอื่นๆ เช่นเกิดคดีอุกฉกรรจ์หรือร้ายแรงอย่างจำเป็นเร่งด่วนหรือเป็นคดีที่มีผู้ต้องหาจำนวนหลายคน
-การขอคำร้องทุกข์ดังกล่าวนี้ต้องเป็นความผิดที่ยอมความกันได้ 
- การแจ้งความเป็นหลักฐาน กรณีที่ไม่เกี่ยวกับคดี
1.พนักงานสอบสวนซักรายละเอียด  ข้อเท็จจริงและตรวจสอบหลักฐานเอกสาร ที่เกี่ยวข้องอธิบายข้อกฏหมาย
2.ลงบันทึกประจำวัน
-
-
1 ชั่วโมง
 
-การขอประกันตัวผู้ต้องหา
1.ผู้ยื่นคำขอ
2.พนักงานสอบสวนตรวจหลักเกณฑ์/หลักฐานความถูกต้องครบถ้วน
3.บันทึกสัญญาประกันและมีความเห็นควรหรือไม่ควรอนุญาตให้ประกัน
4.ผู้มีอำนาจสั่งอนุญาตหรือไม่อนุญาตให้ประกัน
5.เจ้าหน้าที่เสมียนประจำวันทำการบันทึกประจำวันเพื่อปล่อยตัว
ผู้ต้องหา
-บัตรประจำตัวประชาชนผู้แจ้ง
-หนังสือรับรองต้นสังกัด
-กรณีโฉนดที่ดินหรือหนังสือประเมินราคาจากกรมที่ดิน
-สมุดเงินฝากธนาคารหนังสือรับรองธนาคาร
-สำเนาทะเบียนบ้าน
-หลักทรัพย์ที่นำมาใช้ประกันตามที่กำหนด
-กรณีบุคคลที่ใช้ตำแหน่งต้องมีหนังสือรับรองจากต้นสังกัด
-กรณีโฉนดที่ดินต้องมีหนังสือยินยอมจากสามีหรือภรรยาและหนังสือจากกรมที่ดิน
-กรณีสมุดเงินฝากต้องมีหนังสือรับรองจากเจ้าของบัญชี
-
1 ชั่วโมง
ภายใต้เงื่อนไข
1.พนักงานสอบสวน
พิมพ์ลายมือ
2.หลักฐานเกี่ยวกับ
ผู้ประกันครบถ้วน
3.หลักฐานประกัน
เกี่ยวกับหลักประกัน
ครบถ้วน
4.พนักงานสอบสวน
เป็นผู้มีอำนาจวินิจฉัยคำร้องยกเว้นกรณี
4.1คดีความผิดต่อพระมหากษัตริย์และผู้สำเร็จราชการ
4.2คดีความผิดความมั่นคงของรัฐภายใน
4.3คดีอุกฉกรรจ์สะเทือนขวัญ
-กรณีมีเหตุจำเป็นไม่อาจสั่งปล่อยชั่วคราวได้พิจารณาให้เสร็จสิ้นภายใน 24 ชั่วโมง
นับแต่เวลายื่นคำร้องขอปล่อยชั่วคราว
 
- การถอนประกันและคืนหลักประกันที่นำมาประกันตัวผู้ต้องหา
1.ผู้ยื่นคำขอ
2.พนักงานสอบสวนหรือเจ้าหน้าที่ธุรการทางคดี ตรวจสอบบันทึกผลคดีถึงที่สุด
3.พนักงานสอบสวนมีความเห็นให้ถอนสัญญาประกัน
4.เจ้าหน้าที่เสมียนประจำวันลงบันทึกประจำวันและมอบ
- บัตรประจำตัวประชาชนของผู้ยื่น
-หลักฐานการประกันตัวผู้ต้องหา เช่นใบเสร็จรับเงิน ใบรับหลักทรัพย์
-
30 นาที
ภายในเงื่อนไข
-ภายใน 30 นาที กรณีหลักทรัพย์ เก็บรักษาอยู่ที่ สถานีตำรวจ
 -ภายใน 1 วันทำการ กรณีหลักทรัพย์
- การคืนของกลาง กรณีศาลสั่งคืนพนักงานอัยการมีคำสั่งขอให้คืนของกลาง
1.นำหลักฐานแสดงกรรมสิทธิ์และเอกสารที่เกี่ยวข้องพบพนักงานสอบสวน
 2.พนักงานสอบสวนตรวจสอบหลักฐานที่เกี่ยวข้อง
 3.ลงประจำวันคืนของกลางและลงลายมือชื่อ
4.ผู้รับในสมุดบัญชียึดและรักษาทรัพย์
- บัตรประจำตัวประชาชนของผู้ยื่น
-หลักฐานการประกันตัวผู้ต้องหา เช่นใบเสร็จรับเงิน ใบรับหลักทรัพย์
-
2 ชั่วโมง
ของกลางเก็บรักษา
ไว้ที่สถานีตำรวจ
- ขอใบแจ้งการตาย เพื่อนำไปทำใบมรณะบัตร
1.นำใบรับรองการตายจากแพทย์มาพบพนักงานสอบสวนเพื่อออกใบมรณบัตร
-
 
7 วัน
-
งานจราจร
-การขออำนวยความสะดวกด้านการจราจรทั่วไป
1.พบเจ้าหน้าที่เพื่อติดต่อยื่นหนังสือ
2.พิจารณาดำเนินการแล้วแจ้งผลให้ทราบ
3.พิจารณาเสนอหน่วยเหนือสั่งการแล้วแจ้งผลให้ทราบ
-
-
2-5 วันทำการ
-
-การขออำนวยความสะดวกกรณี การขอใช้พื้นผิวจราจร
1.พบเจ้าหน้าที่เพื่อติดต่อยื่นหนังสือ
2.พิจารณาดำเนินการแล้วแจ้งผลให้ทราบ
3.พิจารณาเสนอหน่วยเหนือสั่งการแล้วแจ้งผลให้ทราบ
-
-
7 วัน
-
-การขออำนวยความสะดวกด้านการจราจร กรณีต้องออกคำสั่งหรือข้อบังคับเกี่ยวกับการจราจร
1.พบเจ้าหน้าที่เพื่อติดต่อยื่นหนังสือ
2.พิจารณาดำเนินการแล้วแจ้งผลให้ทราบ
3.พิจารณาเสนอหน่วยเหนือสั่งการแล้วแจ้งผลให้ทราบ
-
-
7 วัน
-
งานธุรการ
-การขอตรวจสอบประวัติสมัครงาน
1.พบเจ้าหน้าที่ธุรการเพื่อพิมพ์ลายนิ้วมือ เพื่อกรอกข้อความในเอกสาร
2.ส่งเรื่องไปตรวจสอบการลงทะเบียนประวัติอาชญากรรม
3.รอรับผลการตรวจสอบพิมพ์ลายนิ้วมือ
4.แจ้งผลการตรวจสอบประวัติ้ทราบ
-
-
20 วัน
ประชาชนสามารถถือเอกสารไปตรวจสอบพร้อมขอรับผลที่กองทะเบียนประวัติฯ ด้วยตนเองหรือจัดส่งทางไปรษณีย์ด่วนมากก็ได้
-การรายงานตัวบุคคลพ้นโทษ
-พบหัวหน้าสถานีตำรวจหรือผู้รักษาราชการแทน
1.หนังสือจากเรือนจำ
2.บัตรประจำตัวประชาชน
-
1 ชั่วโมง
-
-การต่ออายุใบสำคัญประจำตัวคนต่างด้าว
พบเจ้าหน้าที่ยื่นคำร้องชำระเงินค่าธรรมเนียมมองรายการต่ออายุใบสำคัญออกใบเสร็จ นายทะเบียนลงนาม
-
200 บาท
30 นาที
-
สถานที่ติดต่อ
ที่ทำการตำรวจภูธรจังหวัดระยอง ถ.ตากสินมหาราช ต.ท่าประดู่ อ.เมือง จ.ระยอง โทร 038-613340, 038-616750
ที่ทำการตำรวจท้องที่จังหวัดระยอง

*************

สำนักงานจังหวัดระยอง ชั้น 4 ศาลากลางจังหวัดระยอง
ศูนย์ราชการจังหวัดระยอง ถนนสุขุมวิท ตำบลเนินพระ อำเภอเมือง จังหวัดระยอง 21150
โทรศัพท์ : 0-3869-4000, 0-3869-4010 แฟกซ์ : 0-3869-4160
E-mail : rayong@moi.go.th